عن الملكية الفكرية التدريب في مجال الملكية الفكرية إذكاء الاحترام للملكية الفكرية التوعية بالملكية الفكرية الملكية الفكرية لفائدة… الملكية الفكرية و… الملكية الفكرية في… معلومات البراءات والتكنولوجيا معلومات العلامات التجارية معلومات التصاميم الصناعية معلومات المؤشرات الجغرافية معلومات الأصناف النباتية (الأوبوف) القوانين والمعاهدات والأحكام القضائية المتعلقة بالملكية الفكرية مراجع الملكية الفكرية تقارير الملكية الفكرية حماية البراءات حماية العلامات التجارية حماية التصاميم الصناعية حماية المؤشرات الجغرافية حماية الأصناف النباتية (الأوبوف) تسوية المنازعات المتعلقة بالملكية الفكرية حلول الأعمال التجارية لمكاتب الملكية الفكرية دفع ثمن خدمات الملكية الفكرية هيئات صنع القرار والتفاوض التعاون التنموي دعم الابتكار الشراكات بين القطاعين العام والخاص أدوات وخدمات الذكاء الاصطناعي المنظمة العمل مع الويبو المساءلة البراءات العلامات التجارية التصاميم الصناعية المؤشرات الجغرافية حق المؤلف الأسرار التجارية أكاديمية الويبو الندوات وحلقات العمل إنفاذ الملكية الفكرية WIPO ALERT إذكاء الوعي اليوم العالمي للملكية الفكرية مجلة الويبو دراسات حالة وقصص ناجحة في مجال الملكية الفكرية أخبار الملكية الفكرية جوائز الويبو الأعمال الجامعات الشعوب الأصلية الأجهزة القضائية الموارد الوراثية والمعارف التقليدية وأشكال التعبير الثقافي التقليدي الاقتصاد التمويل الأصول غير الملموسة المساواة بين الجنسين الصحة العالمية تغير المناخ سياسة المنافسة أهداف التنمية المستدامة التكنولوجيات الحدودية التطبيقات المحمولة الرياضة السياحة ركن البراءات تحليلات البراءات التصنيف الدولي للبراءات أَردي – البحث لأغراض الابتكار أَردي – البحث لأغراض الابتكار قاعدة البيانات العالمية للعلامات مرصد مدريد قاعدة بيانات المادة 6(ثالثاً) تصنيف نيس تصنيف فيينا قاعدة البيانات العالمية للتصاميم نشرة التصاميم الدولية قاعدة بيانات Hague Express تصنيف لوكارنو قاعدة بيانات Lisbon Express قاعدة البيانات العالمية للعلامات الخاصة بالمؤشرات الجغرافية قاعدة بيانات الأصناف النباتية (PLUTO) قاعدة بيانات الأجناس والأنواع (GENIE) المعاهدات التي تديرها الويبو ويبو لكس - القوانين والمعاهدات والأحكام القضائية المتعلقة بالملكية الفكرية معايير الويبو إحصاءات الملكية الفكرية ويبو بورل (المصطلحات) منشورات الويبو البيانات القطرية الخاصة بالملكية الفكرية مركز الويبو للمعارف الاتجاهات التكنولوجية للويبو مؤشر الابتكار العالمي التقرير العالمي للملكية الفكرية معاهدة التعاون بشأن البراءات – نظام البراءات الدولي ePCT بودابست – نظام الإيداع الدولي للكائنات الدقيقة مدريد – النظام الدولي للعلامات التجارية eMadrid الحماية بموجب المادة 6(ثالثاً) (الشعارات الشرفية، الأعلام، شعارات الدول) لاهاي – النظام الدولي للتصاميم eHague لشبونة – النظام الدولي لتسميات المنشأ والمؤشرات الجغرافية eLisbon UPOV PRISMA UPOV e-PVP Administration UPOV e-PVP DUS Exchange الوساطة التحكيم قرارات الخبراء المنازعات المتعلقة بأسماء الحقول نظام النفاذ المركزي إلى نتائج البحث والفحص (CASE) خدمة النفاذ الرقمي (DAS) WIPO Pay الحساب الجاري لدى الويبو جمعيات الويبو اللجان الدائمة الجدول الزمني للاجتماعات WIPO Webcast وثائق الويبو الرسمية أجندة التنمية المساعدة التقنية مؤسسات التدريب في مجال الملكية الفكرية الدعم المتعلق بكوفيد-19 الاستراتيجيات الوطنية للملكية الفكرية المساعدة في مجالي السياسة والتشريع محور التعاون مراكز دعم التكنولوجيا والابتكار نقل التكنولوجيا برنامج مساعدة المخترعين WIPO GREEN WIPO's PAT-INFORMED اتحاد الكتب الميسّرة اتحاد الويبو للمبدعين WIPO Translate أداة تحويل الكلام إلى نص مساعد التصنيف الدول الأعضاء المراقبون المدير العام الأنشطة بحسب كل وحدة المكاتب الخارجية المناصب الشاغرة المشتريات النتائج والميزانية التقارير المالية الرقابة
Arabic English Spanish French Russian Chinese
القوانين المعاهدات الأحكام التصفح بحسب الاختصاص القضائي

لائحة وزارية بشأن تطبيق حماية البراءات لتنفيذ معاهدة التعاون بشأن البراءات لعام 2009 B.E. 2552، تايلند

عودة للخلف
أحدث إصدار في ويبو لِكس
التفاصيل التفاصيل سنة الإصدار 2009 تواريخ بدء النفاذ : 24 ديسمبر 2009 نص صادر : 30 أكتوبر 2009 نوع النص اللوائح التنفيذية الموضوع البراءات ملاحظات تتضمن هذه اللائحة الوزارية أحكاما بشأن الإجراءات التفصيلية لتطبيق حماية البراءات لتنفيذ معاهدة التعاون بشأن البراءات وفقا لقانون البراءات للعام 1979 و 1999.

المواد المتاحة

النصوص الرئيسية النصوص ذات الصلة
النصوص الرئيسية النصوص الرئيسية بالتايلندية กฎกระทรวง ว่าด้วยการขอรับความคุ้มครองการประดิษฐ์ตามสนธิสัญญาความร่วมมือด้านสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๕๒        
 บันทึกหลักการและเหตุผล

กฎกระทรวง วาดวยการขอรับความคุมครองการประดิษฐตามสนธิสัญญาความรวมมือดานสิทธบิัตร

พ.ศ. ๒๕๕๒

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๒๔ แหงพระราชบัญญตัิสิทธิบตัร พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๑๗ และมาตรา ๖๕ ทศ แหงพระราชบัญญตัิสิทธิบตัร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตัิสิทธบิัตร (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเปนกฎหมายที่มีบทบญัญัตบิางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธแิละเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญตัิใหกระทําไดโดยอาศยัอํานาจตามบทบัญญตัิแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันท่ี ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เปนตนไป

ขอ ๒ ในกฎกระทรวงนี้ “สนธิสัญญา” หมายความวา สนธิสัญญาความรวมมือดานสิทธิบตัร ทําข้ึน

ณ กรุงวอชิงตัน เม่ือวันท่ี ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๓ “ขอบังคับ” หมายความวา ขอบังคับตามสนธิสัญญา “คําขอระหวางประเทศ” หมายความวา คําขอรับความคุมครองการประดิษฐ

ท่ีย่ืนตามสนธสัิญญา ผูขอ” หมายความวา ผูย่ืนคําขอระหวางประเทศ“

“วันย่ืนคาํขอคร้ังแรก” หมายความวา (๑) วันย่ืนคาํขอระหวางประเทศ หรือ (๒) วันย่ืนคาํขอรับความคุมครองการประดิษฐท่ีผูขอไดย่ืนไวคร้ังแรกกอนการย่ืน

คําขอระหวางประเทศในกรณีท่ีมีการขอถือสิทธิตามขอ ๑๖ “สํานักระหวางประเทศ” หมายความวา

สํานักระหวางประเทศขององคการทรัพยสินทางปญญาโลก “องคกรตรวจคนระหวางประเทศ” หมายความวา

สํานกังานสิทธบิัตรของประเทศสมาชิก หรือองคการระหวางประเทศ ท่ีไดรับแตงตั้งจากท่ีประชุมสมัชชาของสนธสัิญญาใหมีอํานาจดําเนินการตรวจคนและรายงานความเ

ห็นเก่ียวกับงานท่ีปรากฏอยูแลวท่ีเก่ียวของกับการประดษิฐ ตามคาํขอระหวางประเทศ

“องคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศ” หมายความวา สํานักงานสิทธิบตัร ของประเทศสมาชิก หรือองคการระหวางประเทศ ท่ีไดรับแตงตั้งจากท่ีประชุมสมัชชาของสนธิสัญญา ใหมีอํานาจดาํเนินการพิจารณาและจดัทําความเห็นเบื้องตนวาการประดิษฐท่ีปรากฏตามขอถือสิทธิ ของคําขอระหวางประเทศเปนการประดษิฐข้ึนใหม มีข้ันการประดษิฐสูงข้ึน และสามารถประยุกต ในทางอตุสาหกรรม

ขอ ๓ กฎกระทรวงนี้ใชบังคับแกการขอรับความคุมครองการประดิษฐ ตามสนธิสัญญา ซึ่งประเทศไทยเขาเปนภาคีแหงสนธสัิญญา เม่ือวันท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒

หมวด ๑ การย่ืนคําขอระหวางประเทศเพ่ือขอรับความคุมครอง

การประดษิฐในประเทศภาคแีหงสนธิสัญญา

ขอ ๔ บุคคลผูมีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลําเนาในประเทศไทยอาจย่ืนคําขอ ระหวางประเทศตอกรมทรัพยสินทางปญญา

บุคคลผูมีภูมิลําเนาในประเทศไทยใหหมายความรวมถงึบุคคลท่ีอยูในระหวาง การประกอบอุตสาหกรรมหรือพาณิชยกรรมอยางแทจริงและจริงจังในประเทศไทย และนติิบคุคล ท่ีมีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูในประเทศไทยดวย

ในกรณีท่ีบุคคลผูมีสัญชาติหรือมีภูมิลําเนาในประเทศภาคีอ่ืนแหงสนธสัิญญา ย่ืนคําขอระหวางประเทศตอกรมทรัพยสินทางปญญา ใหผูขอชําระคาดําเนนิการในอัตราเทากับ คาดาํเนนิการเพ่ือจัดสงคําขอระหวางประเทศตามขอ ๑๐ และใหกรมทรัพยสินทางปญญาสงคาํขอระหวางประเทศนั้นไปยังสํานกัระหวางประเทศเพ่ือดําเนิน การตอไป

ในกรณีท่ีเปนคําขอระหวางประเทศของผูขอหลายคน ผูขออยางนอยหนึ่งคนตองเปนบุคคลตามทีกํ่าหนดในวรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม แลวแตกรณี

ขอ ๕ ในกรณท่ีีผูขอประสงคจะมอบอํานาจใหผูอ่ืนกระทําการแทน ใหมอบอํานาจแกตัวแทนซึ่งไดข้ึนทะเบียนไวแลวตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบญัญัติสิทธิบตัร พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนผูกระทําการแทน

การมอบอํานาจใหแกตัวแทนตามวรรคหน่ึง ใหผูขอย่ืนหนงัสือมอบอํานาจตามแบบท่ีอธิบดีประกาศกําหนด ประกอบคําขอระหวางประเทศ

หรือในกรณีท่ีผูขอเปนผูลงลายมือช่ือในคําขอระหวางประเทศ ผูขออาจแตงตั้งตัวแทนโดยระบุการมอบอํานาจนั้นไวในคําขอระหวางประเทศก็ได

ขอ ๖ คําขอระหวางประเทศ ใหมีรายการดังตอไปนี้ (๑) คํารอง (๒) รายละเอียดการประดษิฐ (๓) ขอถือสิทธิ (๔) รูปเขียน (ถามี) และ (๕) บทสรุปการประดษิฐ รายการตามวรรคหนึ่ง

ใหเปนไปตามแบบคําขอระหวางประเทศตามที่อธิบดีประกาศกําหนดตามสนธิสัญญา

ขอ ๗ คําขอระหวางประเทศจะตองไมมีขอความหรือรูปเขียนท่ีขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอัน ดีของประชาชน หรือดูหม่ินบุคคลใด ๆ หากกรมทรัพยสินทางปญญาเห็นวาคําขอระหวางประเทศปรากฏขอความหรือรูปเขียนในลักษณะดังก ลาว ใหมีหนังสือแจงใหผูขอแกไขขอความหรือรูปเขียน พรอมท้ังแจงใหสํานักระหวางประเทศและองคกรตรวจคนระหวางประเทศทราบดวย

ขอ ๘ ใหผูขอย่ืนคําขอระหวางประเทศและเอกสารประกอบท่ีมีรายการและขอความถูกตองครบถวนเปนภา ษาไทย หรือภาษาอังกฤษ ตอกรมทรัพยสินทางปญญา จํานวนสามชุด

ใหกรมทรัพยสินทางปญญาระบุเลขท่ีคําขอไวในคําขอระหวางประเทศ และประทับขอความในคําขอระหวางประเทศแตละชุดวาเปนคาํขอระหวางประเทศฉบับสํานักระหว างประเทศ คําขอระหวางประเทศฉบับองคกรตรวจคนระหวางประเทศ หรือคําขอระหวางประเทศฉบับสํานักงานรับคําขอ

ขอ ๙ ในกรณีท่ีผูขอย่ืนคําขอระหวางประเทศและเอกสารประกอบเปนภาษาไทย ใหผูขอจัดทําคาํแปลเปนภาษาอังกฤษ และย่ืนตอกรมทรัพยสินทางปญญาภายในระยะเวลาหนึ่งเดือน นับแตกรมทรัพยสินทางปญญาไดรับคําขอระหวางประเทศ

ในกรณีท่ีกรมทรัพยสินทางปญญายังไมไดรับคําแปลกอนท่ีมีหนังสือแจงตาม ขอ ๑๓ (๑) ใหกรมทรัพยสินทางปญญาแจงเตือนกาํหนดระยะเวลาการจดัทําคาํแปลตามวรรคหนึง่ไปพรอมกับ หนังสือแจงดวย

ในกรณีท่ีผูขอไมอาจย่ืนคาํแปลภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตามวรรคหนึ่ง ผูขออาจย่ืนคําแปลไดภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับแตวันท่ีกรมทรัพยสินทางปญญามีหนังสือแจงตาม ขอ ๑๓ (๑) หรือภายในระยะเวลาสองเดือนนับแตวันท่ีกรมทรัพยสินทางปญญาไดรับคําขอระหวางประเทศ แลวแตวากําหนดระยะเวลาใดจะส้ินสุดลงภายหลัง โดยตองชําระคาย่ืนคาํแปลลาชาในอัตรารอยละย่ีสิบหาของคาย่ืนคาํขอระหวางประเทศ

เม่ือพนกําหนดระยะเวลาตามวรรคสาม หากปรากฏวาผูขอไมย่ืนคําแปลตอ กรมทรัพยสินทางปญญา ใหถือวาผูขอถอนคําขอระหวางประเทศ และใหกรมทรัพยสินทางปญญาประกาศการถอนคาํขอระหวางประเทศในท่ีเปดเผย ณ กรมทรัพยสินทางปญญา พรอมท้ังแจงไปยังสํานกัระหวางประเทศและผูขอเพ่ือทราบ เวนแตผูขอไดย่ืนคาํแปลและชําระคาย่ืนคาํแปลลาชากอนการประกาศการถอนคําขอระหวางประเทศ และกอนครบกําหนดระยะเวลาสิบหาเดอืนนับแตวันย่ืน คําขอคร้ังแรก

ขอ ๑๐ ผูขอตองชําระเงินคาย่ืนคําขอระหวางประเทศ คาตรวจคนระหวางประเทศ และคาดําเนินการเพ่ือจัดสงคําขอระหวางประเทศภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับแตวันท่ี กรมทรัพยสินทางปญญาไดรับคําขอระหวางประเทศ และตามอัตราท่ีอธิบดีประกาศกําหนด

ในกรณีท่ีผูขอไมชําระเงินหรือชําระไมครบถวนภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหกรมทรัพยสินทางปญญาแจงใหผูขอชําระเงินท่ีคางชําระใหครบถวน พรอมท้ังคาชําระเงินลาชา ภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนบัแตวันท่ีระบใุนหนังสือแจง โดยคาชําระเงินลาชาใหเปนไปตามอตัรา ท่ีอธิบดีประกาศกําหนด แตตองไมนอยกวาคาดําเนินการเพ่ือจัดสงคาํขอระหวางประเทศและ ไมเกินรอยละหาสิบของคาย่ืนคําขอระหวางประเทศ

ในกรณีท่ีผูขอไมชําระเงินหรือชําระไมครบถวนภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตามวรรคสอง ใหถือวาผูขอถอนคําขอระหวางประเทศ และใหกรมทรัพยสินทางปญญาประกาศการถอนคําขอระหวางประเทศในท่ีเปดเผย ณ กรมทรัพยสินทางปญญา พรอมท้ังแจงไปยังสํานักระหวางประเทศ และผูขอเพ่ือทราบ

ขอ ๑๑ ใหกรมทรัพยสินทางปญญาระบุวันท่ีท่ีไดรับคําขอระหวางประเทศเปนวันย่ืนคําขอระหวางประเทศ เม่ือปรากฏวาในวันท่ีไดรับคําขอระหวางประเทศน้ัน ผูขอเปนผูมีคุณสมบัติ ตามขอ ๔ วรรคหนึ่งและวรรคส่ี และคําขอระหวางประเทศมีลักษณะครบถวนตามที่กําหนด ดังตอไปนี้

(๑) คําขอระหวางประเทศใชภาษาท่ีกําหนดในขอ ๘ และ (๒) คําขอระหวางประเทศมีขอความและเอกสาร ดังตอไปนี้

(ก) ขอความท่ีระบุวาผูขอประสงคจะย่ืนเปนคาํขอระหวางประเทศ

(ข) ขอความท่ีระบุวาผูขอประสงคท่ีจะขอรับความคุมครองการประดิษฐ ในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญา

(ค) ช่ือผูขอ (ง) เอกสารท่ีเปนรายละเอียดการประดิษฐ และขอถือสิทธิ

ขอ ๑๒ ในกรณีท่ีคําขอระหวางประเทศมีลักษณะไมครบถวนตามที่กําหนดในขอ ๑๑ ใหกรมทรัพยสินทางปญญามีหนังสือแจงใหผูขอแกไขขอบกพรองภายในระยะเวลาสองเดือน นับแตวันท่ีระบุในหนังสือแจง

หากผูขอไดแกไขขอบกพรองถูกตองครบถวนภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตามวรรคหน่ึง ใหกรมทรัพยสินทางปญญาระบุวันท่ีท่ีไดรับคาํขอระหวางประเทศท่ีถูกตองครบถวนเปนวันย่ืนคําขอ ระหวางประเทศ

ในกรณีท่ีผูขอมิไดแกไขขอบกพรองภายในระยะเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหกรมทรัพยสินทางปญญาแจงใหผูขอทราบพรอมเหตผุลท่ีไมอาจดาํเนินการตอไปได และใหเก็บ คําขอระหวางประเทศไวเปนหลักฐานและแจงไปยังสํานักระหวางประเทศทราบดวย

ขอ ๑๓ เม่ือกรมทรัพยสินทางปญญาระบุวันย่ืนคาํขอระหวางประเทศตามขอ ๑๑ หรือขอ ๑๒ แลว ใหกรมทรัพยสินทางปญญาเก็บคําขอระหวางประเทศฉบบัสํานักงานรับคําขอ ไวท่ีกรมทรัพยสินทางปญญา และดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) มีหนังสือแจงเลขท่ีคําขอและวันย่ืนคาํขอระหวางประเทศใหผูขอทราบโดยเร็ว (๒)

สงคําขอระหวางประเทศฉบบัสํานักระหวางประเทศและสําเนาหนังสือแจงตาม (๑) ไปยังสํานักระหวางประเทศกอนส้ินสุดระยะเวลาสิบสามเดือนนบัแตวันย่ืนคาํขอคร้ังแรก

(๓) สงคําขอระหวางประเทศฉบบัองคกรตรวจคนระหวางประเทศไปยังองคกร ตรวจคนระหวางประเทศกอนส้ินสุดระยะเวลาสิบสามเดอืนนับแตวันย่ืนคําขอคร้ังแรก เม่ือผูขอ ไดชําระเงินคาตรวจคนระหวางประเทศครบถวนและสงคําแปลตามขอ ๙ แลว

(๔) สงคําแปลตามขอ ๙ ไปยังสํานักระหวางประเทศโดยเร็ว (๕) สงเงินคาย่ืนคาํขอระหวางประเทศไปยังสํานกัระหวางประเทศ

และคาตรวจคนระหวางประเทศไปยังองคกรตรวจคนระหวางประเทศ

ขอ ๑๔ เม่ือกรมทรัพยสินทางปญญาระบุวันย่ืนคาํขอระหวางประเทศตามขอ ๑๑ หรือขอ ๑๒ แลว หากพบขอบกพรองของคําขอระหวางประเทศ ใหดาํเนินการดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีท่ีพบวาคาํขอระหวางประเทศไมปรากฏลายมือช่ือของผูขอ ท่ีอยู สัญชาติ หรือภูมิลําเนาของผูขอ หรือไมปรากฏช่ือท่ีแสดงถึงการประดิษฐ หรือไมปรากฏบทสรุปการประดษิฐ หรือไมเปนไปตามรูปแบบท่ีอธบิดีประกาศกําหนด

ใหกรมทรัพยสินทางปญญามีหนังสือแจงใหผูขอแกไขขอบกพรองภายในระยะเวลาสองเดือนนบัแ ตวันท่ีระบใุนหนังสือแจง

หากผูขอไดแกไขขอบกพรองถูกตองครบถวนภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตาม (๑) วรรคหนึ่ง ใหกรมทรัพยสินทางปญญาสงเอกสารการแกไขไปยังสํานักระหวางประเทศ และองคกรตรวจคนระหวางประเทศ

หากผูขอมิไดแกไขขอบกพรองใหถูกตองครบถวนภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตาม (๑) วรรคหนึ่ง และกรมทรัพยสินทางปญญาเห็นสมควรขยายระยะเวลาดังกลาวออกไป ใหกรมทรัพยสินทางปญญาแจงกําหนดระยะเวลาท่ีขยายออกไปใหผูขอดําเนินการแกไขขอบกพร อง

เม่ือครบกําหนดระยะเวลาที่ใหแกไขขอบกพรองแลว หากผูขอมิไดแกไขขอบกพรองใหถูกตองครบถวน ใหถือวาผูขอถอนคาํขอระหวางประเทศ และใหกรมทรัพยสินทางปญญาประกาศการถอนคําขอระหวางประเทศในท่ีเปดเผย ณ กรมทรัพยสินทางปญญา พรอมท้ังแจงไปยังสํานัก ระหวางประเทศและผูขอเพ่ือทราบ

(๒) ในกรณีท่ีพบวาคาํขอระหวางประเทศมีลักษณะไมครบถวนตามท่ีกําหนด ในขอ ๑๑ ใหกรมทรัพยสินทางปญญามีหนังสือแจงผูขอพรอมดวยเหตุผล ภายในระยะเวลาส่ีเดือนนบัแตวันท่ีระบุวาเปนวันย่ืนคําขอระหวางประเทศวาจะดําเนนิการถอนคาํข อระหวางประเทศ

ใหผูขอมีสิทธย่ืินคําโตแยงตอกรมทรัพยสินทางปญญาภายในระยะเวลา หนึ่งเดือนนบัแตวันท่ีไดรับหนังสือแจงตาม (๒) วรรคหนึ่ง หากผูขอมิไดย่ืนคําโตแยงภายในระยะเวลาท่ีกําหนด หรือกรมทรัพยสินทางปญญาไมเห็นดวยกับคําโตแยงนัน้ ใหถือวาผูขอถอน คําขอระหวางประเทศ และใหกรมทรัพยสินทางปญญาประกาศการถอนคําขอระหวางประเทศ ในท่ีเปดเผย ณ กรมทรัพยสินทางปญญา

ขอ ๑๕ เม่ือผูขอไดรับหนังสือแจงจากสํานักระหวางประเทศวาสํานักระหวางประเทศยังไมไดรับคําขอระหวางป ระเทศฉบบัสํานักระหวางประเทศ ผูขออาจขอใหกรมทรัพยสินทางปญญารับรองความถูกตองของสําเนาคาํขอระหวางประเทศไดโดยไม เสียคาใชจาย และใหผูขอจัดสงสําเนา คําขอระหวางประเทศดังกลาวไปยังสํานักระหวางประเทศ

กรมทรัพยสินทางปญญาอาจปฏิเสธการขอใหรับรองความถูกตองของสําเนา คําขอระหวางประเทศไดในกรณีดังตอไปนี้

(๑) สําเนาคําขอระหวางประเทศท่ีผูขอสงใหรับรองไมเหมือนกับคาํขอระหวางประเทศท่ีไดย่ืนไว หรือ

(๒) กรมทรัพยสินทางปญญาไดสงคําขอระหวางประเทศฉบับสํานักระหวางประเทศไปยังสํานักระหวางปร ะเทศ และสํานักระหวางประเทศไดแจงใหกรมทรัพยสินทางปญญาทราบวาไดรับคาํขอระหวางประเทศฉ บับสํานักระหวางประเทศแลว

ในกรณีท่ีสํานกัระหวางประเทศไมไดรับคําขอระหวางประเทศหรือสําเนาคาํขอระหวางประ เทศตามวรรคหนึ่งภายในระยะเวลาสามเดอืนนับแตวันท่ีสํานักระหวางประเทศมีหนังสือแจงใหผูขอท ราบวายังไมไดรับคาํขอระหวางประเทศฉบับสํานักระหวางประเทศตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาผูขอถอนคําขอระหวางประเทศ

ขอ ๑๖ ผูขออาจขอถือสิทธิการขอรับความคุมครองการประดิษฐเร่ิมตั้งแต วันย่ืนคําขอรับความคุมครองการประดษิฐท่ีผูขอไดย่ืนไวคร้ังแรกกอนการยื่นคําขอระหวางประเทศตา มสนธิสัญญาได หากผูขอไดย่ืนคําขอระหวางประเทศสําหรับการประดิษฐอยางเดียวกัน ภายในสิบสองเดือนนบัแตวันท่ีไดย่ืนคาํขอนั้นเปนคร้ังแรก

การขอถือสิทธติามวรรคหนึ่ง ใหผูขอระบุการขอถือสิทธไิวในคาํขอระหวางประเทศ และย่ืนสําเนาคําขอคร้ังแรกท่ีไดย่ืนไว พรอมคํารับรองความถูกตองจากสํานักงานสิทธิบตัรของประเทศ ท่ีไดย่ืนคาํขอไวคร้ังแรกนัน้ตอกรมทรัพยสินทางปญญา หรือสํานกัระหวางประเทศ ภายในระยะเวลาสิบหกเดือนนับแตวันย่ืนคําขอคร้ังแรก

ในกรณีท่ีผูขอไดย่ืนคาํขอคร้ังแรกไวตอกรมทรัพยสินทางปญญา ผูขออาจทําคาํรองย่ืนตอกรมทรัพยสินทางปญญาใหจดัสงสําเนาคาํขอท่ีไดย่ืนไวคร้ังแรกในประเทศไ ทยพรอมคํารับรองความถูกตองไปยังสํานกัระหวางประเทศแทนผูขอ ภายในระยะเวลาสิบหกเดือนนับแตวันย่ืนคําขอคร้ังแรก โดยผูขอเปนผูชําระคาใชจายในการจดัสงเอกสารนั้น

ขอ ๑๗ ในกรณีท่ีผูขอไมอาจย่ืนคําขอระหวางประเทศภายในระยะเวลาสิบสองเดือนนับแตวันย่ืนคําขอคร้ังแรก หากผูขอประสงคจะขอถือสิทธิตามขอ ๑๖ ผูขออาจย่ืนคาํรองเพ่ือขอฟนสิทธิการขอรับความคุมครองการประดิษฐเร่ิมตั้งแตวันย่ืนคําขอคร้ังแรกต อกรมทรัพยสินทางปญญาภายในระยะเวลาสองเดอืนนบัแตวันครบกําหนดระยะเวลาการขอถือสิทธติ ามขอ ๑๖ วรรคหนึ่ง พรอมท้ังแจงเหตุผลและหลักฐานท่ีแสดงวาตนไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกกรณีแลว

หากกรมทรัพยสินทางปญญาเห็นวาผูขอไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกกรณแีลว แตไมสามารถดําเนนิการไดตามท่ีกําหนด ใหกรมทรัพยสินทางปญญาดําเนนิการตามคํารองตอไปได

ขอ ๑๘ ผูขออาจถอนคาํขอระหวางประเทศในเวลาใดก็ไดกอนส้ินสุดระยะเวลา สามสิบเดือนนับแตวันย่ืนคาํขอคร้ังแรก ตอองคกรดังตอไปนี้

(๑) กรมทรัพยสินทางปญญา (๒) สํานักระหวางประเทศ หรือ (๓) องคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศ ในกรณีท่ีผูขอประสงคจะใหมี

การตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศ การขอถอนคําขอระหวางประเทศใหเปนไปตามแบบท่ีอธิบดีประกาศกําหนด

ตามสนธิสัญญา และใหมีผลเม่ือกรมทรัพยสินทางปญญา หรือสํานักระหวางประเทศ หรือองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศไดรับแจงการขอถอนคําขอระหวางประเทศ

ในกรณีท่ีกรมทรัพยสินทางปญญาไดรับแจงการขอถอนคําขอระหวางประเทศตามวรรคห นึ่ง ใหแจงการขอถอนดังกลาวไปยังสํานักระหวางประเทศโดยเร็ว และในกรณีท่ีไดสงคาํขอระหวางประเทศฉบับองคกรตรวจคนระหวางประเทศไปยังองคกรตรวจค นระหวางประเทศตามขอ ๑๓ แลว ใหแจงการขอถอนไปยังองคกรตรวจคนระหวางประเทศดวย

ขอ ๑๙ ใหกรมทรัพยสินทางปญญาคืนเงินคาย่ืนคําขอระหวางประเทศหรือ คาตรวจคนระหวางประเทศแกผูขอ ในกรณีดังตอไปนี้

(๑) กรณีท่ีไมมีการดําเนินการกับคาํขอระหวางประเทศตามขอ ๑๒ วรรคสาม (๒) กรณีท่ีมีการถอนคําขอระหวางประเทศตามขอ ๑๐ วรรคสาม ขอ ๑๔ (๑)

วรรคส่ี ขอ ๑๔ (๒) วรรคสอง และขอ ๑๕ วรรคสาม หรือกรณีท่ีผูขอถอนคําขอระหวางประเทศ ตามขอ ๑๘ กอนสงคําขอระหวางประเทศฉบับสํานักระหวางประเทศไปยังสํานักระหวางประเทศ หรือกอนสงคําขอระหวางประเทศฉบับองคกรตรวจคนระหวางประเทศไปยังองคกรตรวจคน ระหวางประเทศ แลวแตกรณี

ขอ ๒๐ ในกรณีท่ีองคกรตรวจคนระหวางประเทศท่ีสนธสัิญญารับรองมีหลายแหง ใหอธิบดีประกาศรายช่ือองคกรตรวจคนระหวางประเทศท่ีกรมทรัพยสินทางปญญาจะใหดาํเนินการ ตรวจคนคาํขอระหวางประเทศของผูขอท่ีย่ืนตอกรมทรัพยสินทางปญญา และแจงใหสํานักระหวางประเทศทราบ

ในกรณีท่ีอธบิดีประกาศรายช่ือองคกรตรวจคนระหวางประเทศมากกวาหนึ่งองคกร ใหผูขอระบอุงคกรตรวจคนระหวางประเทศที่ประสงคจะใหดําเนนิการตรวจคนคาํขอระหวางประเทศ ไวในคําขอระหวางประเทศ

ขอ ๒๑ ในกรณีท่ีองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศท่ีสนธิสัญญา รับรองมีหลายแหง ใหอธิบดีประกาศรายช่ือองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศท่ี กรมทรัพยสินทางปญญาจะใหดําเนินการตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศเก่ียวกับการประดิษฐ ตามคาํขอระหวางประเทศของผูขอท่ีย่ืนตอกรมทรัพยสินทางปญญา

และแจงใหสํานักระหวางประเทศทราบ ในกรณีท่ีผูขอประสงคจะใหองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศองคกรใด

ท่ีอธบิดปีระกาศรายช่ือเปนองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศเก่ียวกับการประดิษฐตามคําขอ ระหวางประเทศของตน ใหย่ืนคาํรองขอไปยังองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศนัน้โดยตรง หรือย่ืนผานกรมทรัพยสินทางปญญาเพ่ือสงตอไปยังองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศ และใหผูขอชําระคาตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศตอองคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศโดย ตรง

หมวด ๒ การดําเนินการกับคําขอระหวางประเทศ

ท่ีขอรับความคุมครองการประดิษฐในประเทศไทย

ขอ ๒๒ ผูขอซ่ึงไดย่ืนคาํขอระหวางประเทศในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาไวแลว หากประสงคจะขอรับความคุมครองการประดิษฐในประเทศไทย ใหแจงความประสงคมายัง กรมทรัพยสินทางปญญาตามแบบท่ีอธิบดปีระกาศกําหนด พรอมท้ังสงคําแปลเปนภาษาไทยและ ชําระคาธรรมเนียมคําขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบตัรตามอัตราท่ีกําหนดในพระราชบัญญตัินี้ ภายในระยะเวลาสามสิบเดือนนับแตวันย่ืนคําขอคร้ังแรก

ในกรณีท่ีผูขอมิไดดําเนินการภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหถือวา คําขอระหวางประเทศน้ันส้ินผลในประเทศไทย

ขอ ๒๓ ในกรณีท่ีผูขอไมอาจดาํเนินการภายในระยะเวลาสามสบิเดือนตามขอ ๒๒ วรรคหนึ่ง ผูขออาจย่ืนคาํรองเพ่ือขอฟนสิทธิใหคาํขอระหวางประเทศยังคงมีผลในประเทศไทย ตอกรมทรัพยสินทางปญญา ภายในระยะเวลาสองเดือนนบัแตวันท่ีเหตท่ีุทําใหไมสามารถดาํเนนิการภายในระยะเวลาท่ีกําหนดไ ดส้ินสุดลง หรือภายในระยะเวลาสิบสองเดือนนบัแตวันครบกําหนดระยะเวลาตามขอ ๒๒ วรรคหนึ่ง แลวแตระยะเวลาใดจะส้ินสุดลงกอน โดยแสดงเหตผุลและหลักฐาน พรอมท้ังดําเนนิการตามท่ีกําหนดในขอ ๒๒

เม่ือกรมทรัพยสินทางปญญาพิจารณาคํารองตามวรรคหนึ่งแลว เห็นวาผูขอไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกกรณีแลว แตไมสามารถดําเนนิการไดตามระยะเวลาท่ีกําหนด ใหกรมทรัพยสินทางปญญาดาํเนินการกับคําขอระหวางประเทศตามข้ันตอนท่ีกําหนดในพระร าชบัญญัตนิี้ตอไป และแจงใหผูขอทราบดวย

๑๐

ขอ ๒๔ ผูขอซึ่งไดย่ืนคําขอระหวางประเทศไวแลวในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาและประสงคท่ีจะขอรับความคุ มครองการประดิษฐในประเทศไทย อาจรองขอใหกรมทรัพยสินทางปญญาทบทวนผลการพิจารณาคําขอระหวางประเทศในกรณดีังตอไ ปนี้

(๑) กรณีท่ีสํานักงานรับคาํขอในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาปฏิเสธท่ีจะระบวัุนย่ืนคําขอระหวางประเทศ หรือ

(๒) กรณีท่ีถือวามีการถอนคําขอระหวางประเทศ การย่ืนคํารองตามวรรคหนึ่ง ใหผูขอย่ืนคาํรองไปยังสํานกัระหวางประเทศภายใน

ระยะเวลาสองเดือนนบัแตวันท่ีผูขอไดรับแจงผลการพิจารณา เพ่ือขอใหสํานกัระหวางประเทศจัดสงคําขอระหวางประเทศนั้นมายังกรมทรัพยสินทางปญญา

หากปรากฏแกกรมทรัพยสินทางปญญาวา ผลการพิจารณาคําขอระหวางประเทศ ตามวรรคหนึ่ง เกิดจากความผิดพลาดหรือความละเลยของสํานักงานรับคําขอในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาหรือ สํานักระหวางประเทศ ใหกรมทรัพยสินทางปญญาดําเนนิการกับคําขอระหวางประเทศนั้นตามข้ันตอนท่ีกําหนดในพระราช บัญญตัินีต้อไป และใหถือวาคําขอระหวางประเทศดังกลาวเปนคาํขอรับสิทธิบตัร หรืออนุสิทธิบตัร ท่ีไดย่ืนตอกรมทรัพยสินทางปญญา

ขอ ๒๕ ใหกรมทรัพยสินทางปญญาดําเนนิการกับคําขอระหวางประเทศท่ีขอรับ ความคุมครองการประดษิฐในประเทศไทยตามขอ ๒๒ เม่ือครบกําหนดระยะเวลาสามสิบเดือนนับแต วันย่ืนคําขอคร้ังแรก เวนแตผูขอไดย่ืนคาํรองขอใหดําเนินการกอนครบกําหนดระยะเวลาดังกลาว

ใหไว ณ วันท่ี ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

พรทิวา นาคาศัย (นางพรทิวา นาคาศัย)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย


التشريعات يُنفّذ (1 نصوص) يُنفّذ (1 نصوص) مرجع وثيقة منظمة التجارة العالمية
IP/N/1/THA/
لا توجد بيانات متاحة.

ويبو لِكس رقم TH020