عن الملكية الفكرية التدريب في مجال الملكية الفكرية إذكاء الاحترام للملكية الفكرية التوعية بالملكية الفكرية الملكية الفكرية لفائدة… الملكية الفكرية و… الملكية الفكرية في… معلومات البراءات والتكنولوجيا معلومات العلامات التجارية معلومات التصاميم الصناعية معلومات المؤشرات الجغرافية معلومات الأصناف النباتية (الأوبوف) القوانين والمعاهدات والأحكام القضائية المتعلقة بالملكية الفكرية مراجع الملكية الفكرية تقارير الملكية الفكرية حماية البراءات حماية العلامات التجارية حماية التصاميم الصناعية حماية المؤشرات الجغرافية حماية الأصناف النباتية (الأوبوف) تسوية المنازعات المتعلقة بالملكية الفكرية حلول الأعمال التجارية لمكاتب الملكية الفكرية دفع ثمن خدمات الملكية الفكرية هيئات صنع القرار والتفاوض التعاون التنموي دعم الابتكار الشراكات بين القطاعين العام والخاص أدوات وخدمات الذكاء الاصطناعي المنظمة العمل مع الويبو المساءلة البراءات العلامات التجارية التصاميم الصناعية المؤشرات الجغرافية حق المؤلف الأسرار التجارية أكاديمية الويبو الندوات وحلقات العمل إنفاذ الملكية الفكرية WIPO ALERT إذكاء الوعي اليوم العالمي للملكية الفكرية مجلة الويبو دراسات حالة وقصص ناجحة في مجال الملكية الفكرية أخبار الملكية الفكرية جوائز الويبو الأعمال الجامعات الشعوب الأصلية الأجهزة القضائية الموارد الوراثية والمعارف التقليدية وأشكال التعبير الثقافي التقليدي الاقتصاد التمويل الأصول غير الملموسة المساواة بين الجنسين الصحة العالمية تغير المناخ سياسة المنافسة أهداف التنمية المستدامة التكنولوجيات الحدودية التطبيقات المحمولة الرياضة السياحة ركن البراءات تحليلات البراءات التصنيف الدولي للبراءات أَردي – البحث لأغراض الابتكار أَردي – البحث لأغراض الابتكار قاعدة البيانات العالمية للعلامات مرصد مدريد قاعدة بيانات المادة 6(ثالثاً) تصنيف نيس تصنيف فيينا قاعدة البيانات العالمية للتصاميم نشرة التصاميم الدولية قاعدة بيانات Hague Express تصنيف لوكارنو قاعدة بيانات Lisbon Express قاعدة البيانات العالمية للعلامات الخاصة بالمؤشرات الجغرافية قاعدة بيانات الأصناف النباتية (PLUTO) قاعدة بيانات الأجناس والأنواع (GENIE) المعاهدات التي تديرها الويبو ويبو لكس - القوانين والمعاهدات والأحكام القضائية المتعلقة بالملكية الفكرية معايير الويبو إحصاءات الملكية الفكرية ويبو بورل (المصطلحات) منشورات الويبو البيانات القطرية الخاصة بالملكية الفكرية مركز الويبو للمعارف الاتجاهات التكنولوجية للويبو مؤشر الابتكار العالمي التقرير العالمي للملكية الفكرية معاهدة التعاون بشأن البراءات – نظام البراءات الدولي ePCT بودابست – نظام الإيداع الدولي للكائنات الدقيقة مدريد – النظام الدولي للعلامات التجارية eMadrid الحماية بموجب المادة 6(ثالثاً) (الشعارات الشرفية، الأعلام، شعارات الدول) لاهاي – النظام الدولي للتصاميم eHague لشبونة – النظام الدولي لتسميات المنشأ والمؤشرات الجغرافية eLisbon UPOV PRISMA UPOV e-PVP Administration UPOV e-PVP DUS Exchange الوساطة التحكيم قرارات الخبراء المنازعات المتعلقة بأسماء الحقول نظام النفاذ المركزي إلى نتائج البحث والفحص (CASE) خدمة النفاذ الرقمي (DAS) WIPO Pay الحساب الجاري لدى الويبو جمعيات الويبو اللجان الدائمة الجدول الزمني للاجتماعات WIPO Webcast وثائق الويبو الرسمية أجندة التنمية المساعدة التقنية مؤسسات التدريب في مجال الملكية الفكرية الدعم المتعلق بكوفيد-19 الاستراتيجيات الوطنية للملكية الفكرية المساعدة في مجالي السياسة والتشريع محور التعاون مراكز دعم التكنولوجيا والابتكار نقل التكنولوجيا برنامج مساعدة المخترعين WIPO GREEN WIPO's PAT-INFORMED اتحاد الكتب الميسّرة اتحاد الويبو للمبدعين WIPO Translate أداة تحويل الكلام إلى نص مساعد التصنيف الدول الأعضاء المراقبون المدير العام الأنشطة بحسب كل وحدة المكاتب الخارجية المناصب الشاغرة المشتريات النتائج والميزانية التقارير المالية الرقابة
Arabic English Spanish French Russian Chinese
القوانين المعاهدات الأحكام التصفح بحسب الاختصاص القضائي

قانون حق المؤلف (رقم 4) B.E. 2561 (2018)، تايلند

عودة للخلف
أحدث إصدار في ويبو لِكس
التفاصيل التفاصيل سنة الإصدار 2019 تواريخ بدء النفاذ : 11 مارس 2019 نص مسَّن : 11 نوفمبر 2018 نوع النص قوانين الملكية الفكرية الرئيسية الموضوع حق المؤلف والحقوق المجاورة الموضوع (فرعي) إنفاذ قوانين الملكية الفكرية والقوانين ذات الصلة ملاحظات The Copyright Act (No. 4) B.E. 2561 (2018) was published in the Government Gazette on November 11, 2018, and entered into force on March 11, 2019, 120 days following its publication in the Government Gazette (November 11, 2018), in accordance with its Section 2.

المواد المتاحة

النصوص الرئيسية النصوص ذات الصلة
النصوص الرئيسية النصوص الرئيسية بالتايلندية พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑        
 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑

หน้า ๑๙ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติ ลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔)

พ.ศ. ๒๕๖๑

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันท่ี ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

เป็นปีท่ี ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ

ให้ประกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธ์ิ พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซ่ึงมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้ โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

เหตุผลและความจําเป็นในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือให้ คนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ อันเน่ืองมาจากความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอ่ืน ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ ซ่ึงการตราพระราชบัญญัติน้ีสอดคล้องกับเงื่อนไขท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าท่ีรัฐสภา ดังต่อไปน้ี

หน้า ๒๐ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๙) ของวรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ

พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๓๒/๔ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๓๒/๔ การกระทําใด ๆ ดังต่อไปน้ี โดยองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ

เพ่ือประโยชน์ของคนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติน้ี อันเน่ืองมาจาก ความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิ หากไม่มี วัตถุประสงค์เพ่ือหากําไร และได้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง

(๑) ทําซํ้าหรือดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้มีการโฆษณาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนแล้ว และได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย

(๒) เผยแพร่ต่อสาธารณชนซ่ึงสําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีทําซํ้าหรือดัดแปลงตาม (๑) รวมถึง สําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้รับจากองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับในประเทศหรือต่างประเทศ

องค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ รูปแบบการทําซํ้าหรือดัดแปลงตามความจําเป็น ของคนพิการ รวมท้ังหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเพ่ือทําซํ้าหรือดัดแปลงและเผยแพร่ต่อสาธารณชน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา”

มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน

“มาตรา ๕๓ ให้นํามาตรา ๓๒ มาตรา ๓๒/๒ มาตรา ๓๒/๓ มาตรา ๓๒/๔ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ มาใช้บังคับแก่สิทธิของนักแสดงโดยอนุโลม”

ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

หน้า ๒๑ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีแห่ง สนธิสัญญามาร์ราเคช เพื่ออํานวยความสะดวกในการเข้าถึงงานท่ีมีการโฆษณาแล้ว สําหรับคนตาบอด คนพิการทางการเห็น หรือคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ (Marrakesh Treaty to Facilitate Access to Published Works for Persons Who Are Blind, Visually Impaired, or Otherwise Print Disabled) โดยสนธิสัญญาดังกล่าวกําหนดให้รัฐภาคีบัญญัติกฎหมายภายในเพ่ือรองรับข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ เพื่อให้คนตาบอด คนพิการทางการเห็น และคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอื่น ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อประโยชน์ของคนพิการ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้สอดคล้องกับสนธิสัญญาดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้


التشريعات يُعدّل (1 نصوص) يُعدّل (1 نصوص)
لا توجد بيانات متاحة.

ويبو لِكس رقم TH041