Propiedad intelectual Formación en PI Respeto por la PI Divulgación de la PI La PI para... La PI y… La PI en… Información sobre patentes y tecnología Información sobre marcas Información sobre diseños industriales Información sobre las indicaciones geográficas Información sobre las variedades vegetales (UPOV) Leyes, tratados y sentencias de PI Recursos de PI Informes sobre PI Protección por patente Protección de las marcas Protección de diseños industriales Protección de las indicaciones geográficas Protección de las variedades vegetales (UPOV) Solución de controversias en materia de PI Soluciones operativas para las oficinas de PI Pagar por servicios de PI Negociación y toma de decisiones Cooperación para el desarrollo Apoyo a la innovación Colaboraciones público-privadas Herramientas y servicios de IA La Organización Trabajar con la OMPI Rendición de cuentas Patentes Marcas Diseños industriales Indicaciones geográficas Derecho de autor Secretos comerciales Academia de la OMPI Talleres y seminarios Observancia de la PI WIPO ALERT Sensibilizar Día Mundial de la PI Revista de la OMPI Casos prácticos y casos de éxito Novedades sobre la PI Premios de la OMPI Empresas Universidades Pueblos indígenas Judicatura Recursos genéticos, conocimientos tradicionales y expresiones culturales tradicionales Economía Igualdad de género Salud mundial Cambio climático Política de competencia Objetivos de Desarrollo Sostenible Tecnologías de vanguardia Aplicaciones móviles Deportes Turismo PATENTSCOPE Análisis de patentes Clasificación Internacional de Patentes ARDI - Investigación para la innovación ASPI - Información especializada sobre patentes Base Mundial de Datos sobre Marcas Madrid Monitor Base de datos Artículo 6ter Express Clasificación de Niza Clasificación de Viena Base Mundial de Datos sobre Dibujos y Modelos Boletín de Dibujos y Modelos Internacionales Base de datos Hague Express Clasificación de Locarno Base de datos Lisbon Express Base Mundial de Datos sobre Marcas para indicaciones geográficas Base de datos de variedades vegetales PLUTO Base de datos GENIE Tratados administrados por la OMPI WIPO Lex: leyes, tratados y sentencias de PI Normas técnicas de la OMPI Estadísticas de PI WIPO Pearl (terminología) Publicaciones de la OMPI Perfiles nacionales sobre PI Centro de Conocimiento de la OMPI Informes de la OMPI sobre tendencias tecnológicas Índice Mundial de Innovación Informe mundial sobre la propiedad intelectual PCT - El sistema internacional de patentes ePCT Budapest - El Sistema internacional de depósito de microorganismos Madrid - El sistema internacional de marcas eMadrid Artículo 6ter (escudos de armas, banderas, emblemas de Estado) La Haya - Sistema internacional de diseños eHague Lisboa - Sistema internacional de indicaciones geográficas eLisbon UPOV PRISMA UPOV e-PVP Administration UPOV e-PVP DUS Exchange Mediación Arbitraje Determinación de expertos Disputas sobre nombres de dominio Acceso centralizado a la búsqueda y el examen (CASE) Servicio de acceso digital (DAS) WIPO Pay Cuenta corriente en la OMPI Asambleas de la OMPI Comités permanentes Calendario de reuniones WIPO Webcast Documentos oficiales de la OMPI Agenda para el Desarrollo Asistencia técnica Instituciones de formación en PI Apoyo para COVID-19 Estrategias nacionales de PI Asesoramiento sobre políticas y legislación Centro de cooperación Centros de apoyo a la tecnología y la innovación (CATI) Transferencia de tecnología Programa de Asistencia a los Inventores (PAI) WIPO GREEN PAT-INFORMED de la OMPI Consorcio de Libros Accesibles Consorcio de la OMPI para los Creadores WIPO Translate Conversión de voz a texto Asistente de clasificación Estados miembros Observadores Director general Actividades por unidad Oficinas en el exterior Ofertas de empleo Adquisiciones Resultados y presupuesto Información financiera Supervisión
Arabic English Spanish French Russian Chinese
Leyes Tratados Sentencias Consultar por jurisdicción

Ley (N° 4) de Derecho de Autor E.B. 2561 (2018), Tailandia

Atrás
Versión más reciente en WIPO Lex
Detalles Detalles Año de versión 2019 Fechas Entrada en vigor: 11 de marzo de 2019 Promulgación: 11 de noviembre de 2018 Tipo de texto Principal legislación de PI Materia Derecho de autor Materia (secundaria) Observancia de las leyes de PI y leyes conexas Notas The Copyright Act (No. 4) B.E. 2561 (2018) was published in the Government Gazette on November 11, 2018, and entered into force on March 11, 2019, 120 days following its publication in the Government Gazette (November 11, 2018), in accordance with its Section 2.

Documentos disponibles

Textos principales Textos relacionados
Textos principales Textos principales Tailandés พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑        

หน้า ๑๙ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติ ลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔)

พ.ศ. ๒๕๖๑

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันท่ี ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

เป็นปีท่ี ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ

ให้ประกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธ์ิ พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซ่ึงมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้ โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

เหตุผลและความจําเป็นในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือให้ คนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ อันเน่ืองมาจากความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอ่ืน ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ ซ่ึงการตราพระราชบัญญัติน้ีสอดคล้องกับเงื่อนไขท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าท่ีรัฐสภา ดังต่อไปน้ี

หน้า ๒๐ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๙) ของวรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ

พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๓๒/๔ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๓๒/๔ การกระทําใด ๆ ดังต่อไปน้ี โดยองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ

เพ่ือประโยชน์ของคนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติน้ี อันเน่ืองมาจาก ความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิ หากไม่มี วัตถุประสงค์เพ่ือหากําไร และได้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง

(๑) ทําซํ้าหรือดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้มีการโฆษณาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนแล้ว และได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย

(๒) เผยแพร่ต่อสาธารณชนซ่ึงสําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีทําซํ้าหรือดัดแปลงตาม (๑) รวมถึง สําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้รับจากองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับในประเทศหรือต่างประเทศ

องค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ รูปแบบการทําซํ้าหรือดัดแปลงตามความจําเป็น ของคนพิการ รวมท้ังหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเพ่ือทําซํ้าหรือดัดแปลงและเผยแพร่ต่อสาธารณชน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา”

มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน

“มาตรา ๕๓ ให้นํามาตรา ๓๒ มาตรา ๓๒/๒ มาตรา ๓๒/๓ มาตรา ๓๒/๔ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ มาใช้บังคับแก่สิทธิของนักแสดงโดยอนุโลม”

ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

หน้า ๒๑ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีแห่ง สนธิสัญญามาร์ราเคช เพื่ออํานวยความสะดวกในการเข้าถึงงานท่ีมีการโฆษณาแล้ว สําหรับคนตาบอด คนพิการทางการเห็น หรือคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ (Marrakesh Treaty to Facilitate Access to Published Works for Persons Who Are Blind, Visually Impaired, or Otherwise Print Disabled) โดยสนธิสัญญาดังกล่าวกําหนดให้รัฐภาคีบัญญัติกฎหมายภายในเพ่ือรองรับข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ เพื่อให้คนตาบอด คนพิการทางการเห็น และคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอื่น ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อประโยชน์ของคนพิการ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้สอดคล้องกับสนธิสัญญาดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้


Legislación Enmienda (1 texto(s)) Enmienda (1 texto(s))
Datos no disponibles.

N° WIPO Lex TH041