About Intellectual Property IP Training Respect for IP IP Outreach IP for… IP and... IP in... Patent & Technology Information Trademark Information Industrial Design Information Geographical Indication Information Plant Variety Information (UPOV) IP Laws, Treaties & Judgements IP Resources IP Reports Patent Protection Trademark Protection Industrial Design Protection Geographical Indication Protection Plant Variety Protection (UPOV) IP Dispute Resolution IP Office Business Solutions Paying for IP Services Negotiation & Decision-Making Development Cooperation Innovation Support Public-Private Partnerships AI Tools & Services The Organization Working with WIPO Accountability Patents Trademarks Industrial Designs Geographical Indications Copyright Trade Secrets WIPO Academy Workshops & Seminars IP Enforcement WIPO ALERT Raising Awareness World IP Day WIPO Magazine Case Studies & Success Stories IP News WIPO Awards Business Universities Indigenous Peoples Judiciaries Genetic Resources, Traditional Knowledge and Traditional Cultural Expressions Economics Finance Intangible Assets Gender Equality Global Health Climate Change Competition Policy Sustainable Development Goals Frontier Technologies Mobile Applications Sports Tourism PATENTSCOPE Patent Analytics International Patent Classification ARDI – Research for Innovation ASPI – Specialized Patent Information Global Brand Database Madrid Monitor Article 6ter Express Database Nice Classification Vienna Classification Global Design Database International Designs Bulletin Hague Express Database Locarno Classification Lisbon Express Database Global Brand Database for GIs PLUTO Plant Variety Database GENIE Database WIPO-Administered Treaties WIPO Lex - IP Laws, Treaties & Judgments WIPO Standards IP Statistics WIPO Pearl (Terminology) WIPO Publications Country IP Profiles WIPO Knowledge Center WIPO Technology Trends Global Innovation Index World Intellectual Property Report PCT – The International Patent System ePCT Budapest – The International Microorganism Deposit System Madrid – The International Trademark System eMadrid Article 6ter (armorial bearings, flags, state emblems) Hague – The International Design System eHague Lisbon – The International System of Appellations of Origin and Geographical Indications eLisbon UPOV PRISMA UPOV e-PVP Administration UPOV e-PVP DUS Exchange Mediation Arbitration Expert Determination Domain Name Disputes Centralized Access to Search and Examination (CASE) Digital Access Service (DAS) WIPO Pay Current Account at WIPO WIPO Assemblies Standing Committees Calendar of Meetings WIPO Webcast WIPO Official Documents Development Agenda Technical Assistance IP Training Institutions COVID-19 Support National IP Strategies Policy & Legislative Advice Cooperation Hub Technology and Innovation Support Centers (TISC) Technology Transfer Inventor Assistance Program WIPO GREEN WIPO's Pat-INFORMED Accessible Books Consortium WIPO for Creators WIPO Translate Speech-to-Text Classification Assistant Member States Observers Director General Activities by Unit External Offices Job Vacancies Procurement Results & Budget Financial Reporting Oversight
Arabic English Spanish French Russian Chinese
Laws Treaties Judgments Browse By Jurisdiction

Copyright Act (No. 4) B.E. 2561 (2018), Thailand

Back
Latest Version in WIPO Lex
Details Details Year of Version 2019 Dates Entry into force: March 11, 2019 Enacted: November 11, 2018 Type of Text Main IP Laws Subject Matter Copyright and Related Rights (Neighboring Rights) Subject Matter (secondary) Enforcement of IP and Related Laws Notes The Copyright Act (No. 4) B.E. 2561 (2018) was published in the Government Gazette on November 11, 2018, and entered into force on March 11, 2019, 120 days following its publication in the Government Gazette (November 11, 2018), in accordance with its Section 2.

Available Materials

Main Text(s) Related Text(s)
Main text(s) Main text(s) Thai พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑        
 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑

หน้า ๑๙ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติ ลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔)

พ.ศ. ๒๕๖๑

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันท่ี ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

เป็นปีท่ี ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ

ให้ประกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธ์ิ พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซ่ึงมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้ โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

เหตุผลและความจําเป็นในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือให้ คนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ อันเน่ืองมาจากความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอ่ืน ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ ซ่ึงการตราพระราชบัญญัติน้ีสอดคล้องกับเงื่อนไขท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าท่ีรัฐสภา ดังต่อไปน้ี

หน้า ๒๐ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๙) ของวรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ

พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๓๒/๔ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๓๒/๔ การกระทําใด ๆ ดังต่อไปน้ี โดยองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ

เพ่ือประโยชน์ของคนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติน้ี อันเน่ืองมาจาก ความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิ หากไม่มี วัตถุประสงค์เพ่ือหากําไร และได้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง

(๑) ทําซํ้าหรือดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้มีการโฆษณาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนแล้ว และได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย

(๒) เผยแพร่ต่อสาธารณชนซ่ึงสําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีทําซํ้าหรือดัดแปลงตาม (๑) รวมถึง สําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้รับจากองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับในประเทศหรือต่างประเทศ

องค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ รูปแบบการทําซํ้าหรือดัดแปลงตามความจําเป็น ของคนพิการ รวมท้ังหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเพ่ือทําซํ้าหรือดัดแปลงและเผยแพร่ต่อสาธารณชน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา”

มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน

“มาตรา ๕๓ ให้นํามาตรา ๓๒ มาตรา ๓๒/๒ มาตรา ๓๒/๓ มาตรา ๓๒/๔ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ มาใช้บังคับแก่สิทธิของนักแสดงโดยอนุโลม”

ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

หน้า ๒๑ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีแห่ง สนธิสัญญามาร์ราเคช เพื่ออํานวยความสะดวกในการเข้าถึงงานท่ีมีการโฆษณาแล้ว สําหรับคนตาบอด คนพิการทางการเห็น หรือคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ (Marrakesh Treaty to Facilitate Access to Published Works for Persons Who Are Blind, Visually Impaired, or Otherwise Print Disabled) โดยสนธิสัญญาดังกล่าวกําหนดให้รัฐภาคีบัญญัติกฎหมายภายในเพ่ือรองรับข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ เพื่อให้คนตาบอด คนพิการทางการเห็น และคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอื่น ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อประโยชน์ของคนพิการ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้สอดคล้องกับสนธิสัญญาดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้


Legislation Amends (1 text(s)) Amends (1 text(s))
No data available.

WIPO Lex No. TH041