À propos de la propriété intellectuelle Formation en propriété intellectuelle Respect de la propriété intellectuelle Sensibilisation à la propriété intellectuelle La propriété intellectuelle pour… Propriété intellectuelle et… Propriété intellectuelle et… Information relative aux brevets et à la technologie Information en matière de marques Information en matière de dessins et modèles industriels Information en matière d’indications géographiques Information en matière de protection des obtentions végétales (UPOV) Lois, traités et jugements dans le domaine de la propriété intellectuelle Ressources relatives à la propriété intellectuelle Rapports sur la propriété intellectuelle Protection des brevets Protection des marques Protection des dessins et modèles industriels Protection des indications géographiques Protection des obtentions végétales (UPOV) Règlement extrajudiciaire des litiges Solutions opérationnelles à l’intention des offices de propriété intellectuelle Paiement de services de propriété intellectuelle Décisions et négociations Coopération en matière de développement Appui à l’innovation Partenariats public-privé Outils et services en matière d’intelligence artificielle L’Organisation Travailler avec nous Responsabilité Brevets Marques Dessins et modèles industriels Indications géographiques Droit d’auteur Secrets d’affaires Académie de l’OMPI Ateliers et séminaires Application des droits de propriété intellectuelle WIPO ALERT Sensibilisation Journée mondiale de la propriété intellectuelle Magazine de l’OMPI Études de cas et exemples de réussite Actualités dans le domaine de la propriété intellectuelle Prix de l’OMPI Entreprises Universités Peuples autochtones Instances judiciaires Ressources génétiques, savoirs traditionnels et expressions culturelles traditionnelles Économie Égalité des genres Santé mondiale Changement climatique Politique en matière de concurrence Objectifs de développement durable Technologies de pointe Applications mobiles Sport Tourisme PATENTSCOPE Analyse de brevets Classification internationale des brevets Programme ARDI – Recherche pour l’innovation Programme ASPI – Information spécialisée en matière de brevets Base de données mondiale sur les marques Madrid Monitor Base de données Article 6ter Express Classification de Nice Classification de Vienne Base de données mondiale sur les dessins et modèles Bulletin des dessins et modèles internationaux Base de données Hague Express Classification de Locarno Base de données Lisbon Express Base de données mondiale sur les marques relative aux indications géographiques Base de données PLUTO sur les variétés végétales Base de données GENIE Traités administrés par l’OMPI WIPO Lex – lois, traités et jugements en matière de propriété intellectuelle Normes de l’OMPI Statistiques de propriété intellectuelle WIPO Pearl (Terminologie) Publications de l’OMPI Profils nationaux Centre de connaissances de l’OMPI Série de rapports de l’OMPI consacrés aux tendances technologiques Indice mondial de l’innovation Rapport sur la propriété intellectuelle dans le monde PCT – Le système international des brevets ePCT Budapest – Le système international de dépôt des micro-organismes Madrid – Le système international des marques eMadrid Article 6ter (armoiries, drapeaux, emblèmes nationaux) La Haye – Le système international des dessins et modèles industriels eHague Lisbonne – Le système d’enregistrement international des indications géographiques eLisbon UPOV PRISMA UPOV e-PVP Administration UPOV e-PVP DUS Exchange Médiation Arbitrage Procédure d’expertise Litiges relatifs aux noms de domaine Accès centralisé aux résultats de la recherche et de l’examen (WIPO CASE) Service d’accès numérique aux documents de priorité (DAS) WIPO Pay Compte courant auprès de l’OMPI Assemblées de l’OMPI Comités permanents Calendrier des réunions WIPO Webcast Documents officiels de l’OMPI Plan d’action de l’OMPI pour le développement Assistance technique Institutions de formation en matière de propriété intellectuelle Mesures d’appui concernant la COVID-19 Stratégies nationales de propriété intellectuelle Assistance en matière d’élaboration des politiques et de formulation de la législation Pôle de coopération Centres d’appui à la technologie et à l’innovation (CATI) Transfert de technologie Programme d’aide aux inventeurs WIPO GREEN Initiative PAT-INFORMED de l’OMPI Consortium pour des livres accessibles L’OMPI pour les créateurs WIPO Translate Speech-to-Text Assistant de classification États membres Observateurs Directeur général Activités par unité administrative Bureaux extérieurs Avis de vacance d’emploi Achats Résultats et budget Rapports financiers Audit et supervision
Arabic English Spanish French Russian Chinese
Lois Traités Jugements Recherche par ressort juridique

Loi (n° 4) sur le droit d’auteur B.E. 2561 (2018), Thaïlande

Retour
Version la plus récente dans WIPO Lex
Détails Détails Année de version 2019 Dates Entrée en vigueur: 11 mars 2019 Promulgué: 11 novembre 2018 Type de texte Principales lois de propriété intellectuelle Sujet Droit d'auteur Sujet (secondaire) Mise en application des droits Notes The Copyright Act (No. 4) B.E. 2561 (2018) was published in the Government Gazette on November 11, 2018, and entered into force on March 11, 2019, 120 days following its publication in the Government Gazette (November 11, 2018), in accordance with its Section 2.

Documents disponibles

Texte(s) principal(aux) Textes connexe(s)
Texte(s) princip(al)(aux) Texte(s) princip(al)(aux) Thaï พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑        

หน้า ๑๙ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติ ลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔)

พ.ศ. ๒๕๖๑

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันท่ี ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

เป็นปีท่ี ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ

ให้ประกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธ์ิ พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซ่ึงมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้ โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

เหตุผลและความจําเป็นในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือให้ คนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ อันเน่ืองมาจากความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอ่ืน ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิ ซ่ึงการตราพระราชบัญญัติน้ีสอดคล้องกับเงื่อนไขท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าท่ีรัฐสภา ดังต่อไปน้ี

หน้า ๒๐ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๙) ของวรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ

พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๓๒/๔ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ “มาตรา ๓๒/๔ การกระทําใด ๆ ดังต่อไปน้ี โดยองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ

เพ่ือประโยชน์ของคนพิการซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติน้ี อันเน่ืองมาจาก ความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว สติปัญญา หรือการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืน ตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิ หากไม่มี วัตถุประสงค์เพ่ือหากําไร และได้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง

(๑) ทําซํ้าหรือดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้มีการโฆษณาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนแล้ว และได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย

(๒) เผยแพร่ต่อสาธารณชนซ่ึงสําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีทําซํ้าหรือดัดแปลงตาม (๑) รวมถึง สําเนางานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีได้รับจากองค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับในประเทศหรือต่างประเทศ

องค์กรท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับการยอมรับ รูปแบบการทําซํ้าหรือดัดแปลงตามความจําเป็น ของคนพิการ รวมท้ังหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเพ่ือทําซํ้าหรือดัดแปลงและเผยแพร่ต่อสาธารณชน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา”

มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน

“มาตรา ๕๓ ให้นํามาตรา ๓๒ มาตรา ๓๒/๒ มาตรา ๓๒/๓ มาตรา ๓๒/๔ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ มาใช้บังคับแก่สิทธิของนักแสดงโดยอนุโลม”

ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

หน้า ๒๑ เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๙๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีแห่ง สนธิสัญญามาร์ราเคช เพื่ออํานวยความสะดวกในการเข้าถึงงานท่ีมีการโฆษณาแล้ว สําหรับคนตาบอด คนพิการทางการเห็น หรือคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ (Marrakesh Treaty to Facilitate Access to Published Works for Persons Who Are Blind, Visually Impaired, or Otherwise Print Disabled) โดยสนธิสัญญาดังกล่าวกําหนดให้รัฐภาคีบัญญัติกฎหมายภายในเพ่ือรองรับข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ เพื่อให้คนตาบอด คนพิการทางการเห็น และคนพิการทางส่ือส่ิงพิมพ์ ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอื่น ในการเข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อประโยชน์ของคนพิการ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้สอดคล้องกับสนธิสัญญาดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้


Législation Modifie (1 texte(s)) Modifie (1 texte(s))
Aucune donnée disponible

N° WIPO Lex TH041